ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2567-2568, ทัวร์อินเดีย 30,900 บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-8 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2567-68, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2567-68, ทัวร์อินเดีย 30,900 บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-8 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2567-68, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2563-64, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2564, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
เมนูหลัก
ประวัติบริษัท
ทะเบียน-ใบอนุญาต
แผนที่-ติดต่อสอบถาม
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย2566-67 , ทัวร์อินเดีย2566-2567, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2566, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
BTC บริษัทในเครือ
ศูนย์อินเดีย-ไทย ITT
สมาคมการศึกษาฯ และท่องเที่ยวไทย-อินเดีย
กองทุนบุญกุศลนิธิธรรมหรรษา (ชมรม)
ธรรมหรรษาทีวี TV
ธรรมหรรษาวิทยุ
สารคดีสู่แดนพุทธภูมิ
รายการ TV ช่อง 8
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2563-64, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2564, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ทัวร์แสวงบุญ
ทัวร์สังเวชนียสถาน
ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล
ทัวร์อินเดีย-เปนาล
โครงการบวชใต้ต้นโพธิ์
ทัวร์แคชเมียร์-หิมาลัย
ทัวร์อินเดียเที่ยวทั่วไป
เนปาล เที่ยวหิมาลัย
พม่า
ศรีลังกา
อินโดนีเซีย
ภูฏาน
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2566-2567, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2566, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
กิจกรรมพิเศษ
สร้างวัดไทยโพธิวิหารอินเดีย
โครงการปฏิบัติธรรมต้นโพธิ์
พิธีสาธยายพระไตรปิฎก
สวดมนต์ข้ามปีที่อินเดีย
คนดังไปอินเดีย
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2563-64, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2564, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ข้อมูลแดนพุทธภูมิ สังเวชนียสถาน พุทธสถาน
ห้องสมุดพุทธภูมิศึกษา
แผนที่แดนพุทธภูมิ
พุทธคยา
ราชคฤห์-นาลันทา
ปัตนะ
ไวสาลี
เกสริยา
กุสินารา
ลุมพินี
กบิลพัสดุ์
เทวทหะ
สาวัตถี
อโยธยา
สะสาราม
พาราณสี
สารนาถ
โกสัมพี
แคว้นกุรุ (เดลี)
สาญจีสถูป
อชันตา-เอลโลร่า
สังกัสสนคร
แคว้นอวันตี
ทัชมาฮาล-อัคราฟอร์ต
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2563-64, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2564, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ทัวร์เอเชีย
พม่า
เชียงตุง-เมืองลา
อินโดนีเซีย
เนปาล
ลาว
กัมพูชา
เวียดนาม
มาเลเซีย
สิงคโปร์
จีน
ญีปุ่น
เกาหลี
ภูฏาน
บรูไน
มัลดีฟ
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2563-64, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2564, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatour
ทัวร์เที่ยวทั่วโลก
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
อเมริกา
แคนนาดา
ออสเตรเลีย
อังกฤษ
สวิตเซอร์แลนด์
เยอรมัน
ฝรั่งเศส
อิตาลี
ยุโรปอื่นๆ
ทัวร์อินเดีย, ธรรมหรรษาทัวร์, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ทัวร์อินเดียเนปาล, ทัวร์แสวงบุญ 4 ตำบล, ทัวร์อินเดีย 2563-2564, ทัวร์อินเดีย29999บาท, ทัวร์อินเดียราคาถูก, ทัวร์อินเดียถูกดีชัวร์, ทัวร์อินเดีย 6-7 วัน, ทัวร์อินเดียเชี่ยวชาญจริง, ทัวร์อินเดียดีมีคุณภาพ, ทัวร์อินเดียโปรโมชั่น, ทัวร์อินเดียมาตรฐาน, ทัวร์อินเดีย 2564, ทัวร์อินเดียครบสูตร, Indiatour, dhammahansatou
ทัวร์ไทยในประเทศ
ทัวร์ปิดทองฝังลูกนิมิต 9 วัด
ทัวร์เขาคิชฌกูฎ-เขาสุกิม
ทัวร์ล่องเรือ
ทัวร์ถวายเทียนพรรษา 9 วัด
ทัวร์ทำบุญไหว้พระ 9 วัด
ทัวร์กินเจ
ทัวร์บั้งไฟพญานาค
ทัวร์เที่ยวเหนือ
ทัวร์เที่ยวอีสาน
ทัวร์เที่ยวใต้
ทัวร์เที่ยวภาคกลาง
ธรรมหรรษาทัวร์
free counters
< 2024 - 11 >
อาพฤ
     12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930
กบิลพัสดุ์ (Kapilavastu)




       กบิลพัสดุ์ (Kapilavastu)
กรุงกบิลพัสดุ์
กลุ่มพระชาวแคว้นสักกะ
นอกจากกลุ่มปัญจวัคคีย์และพระนาลกะ มีอีก ๑๔ รูป คือ พระนันทะ พระราหุล พระภัททิยะ (กาฬิโคธาบัตร) พระอนุรุทธะ พระอานนท์ พระภคุ พระกิมพิละ พระอุบาลี พระเมฆิยะ พระนาคิตะ พระสีวลี พระปุณณมมันตาบัตร พระมหาอุทายี และกาฬุทายี กบิลพัสดุ์ (Kapilavastu) เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นสักกะ เป็นเมืองของพระเจ้าสุทโธทนะผู้เป็นปกครอง ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศ เนปาล ติดชายแดนตอนเหนือประเทศอินเดีย กบิลพัสดุ์ แปลตามศัพท์ว่า “ที่อยู่ของกบิลดาบส”เพราะบริเวณ ที่ตั้งเมืองนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของดาบสชื่อ กบิล พวกเจ้าศากยะได้ มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้ว่ากบิลพัสดุ์ เพื่อเป็น อนุสรณ์แก่กบิลดาบส
ในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ นักโบราณคดีได้แกะรอยแนวที่ตั้งของเสา พระเจ้าอโศก และตำ นานการสร้างเมืองมาจนพบกับเมืองโบราณร้างชื่อ “ติเลาราโกต” อยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับกรุงกบิลพัสดุ์ตามที่ระบุในเอกสาร หลายฉบับ “อยู่ทางใต้ของเชิงเขาหิมาลัย ๑๖ กิโลเมตร สวนลุมพินีวัน ห่างออกไป ๓๕ กิโลเมตร ทางตะวันออก ทางตะวันตกมีลำ น้ำ สาขา ของแม่น้ำ คงคาไหลผ่าน” หลักฐานจากการขุดค้นทางโบราณคดียืนยันว่ามีความเป็นเมือง โบราณตั้งแต่ก่อนพุทธกาลประมาณ ๑๐๐ ปี และได้ความเจริญต่อเนื่อง มาจนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ ๗ ก่อนที่จะถูกทิ้งร้างไป
ปัจจุบันเมืองโบราณติเลาราโกตแห่งนี้รวมทั้งลุมพินีวันได้รับการ ประกาศจากยูเนสโกให้นับเป็นมรดกโลกที่อยู่ในประเทศเนปาล ในพุทธศตวรรษที่ 10 หลวงจีนฟาเหียน ได้บันทึกว่า ในเมือง กบิลพัสดุ์ พบแต่สิ่งปรักหักพัง และในครั้งนั้น มีพระภิกษุอยู่จำ นวนน้อย มีพระสถูปปรากฏ
ในพุทธศตวรรษที่ 13 พระถังซัมจั๋ง ได้พรรณนา เมืองกบิลพัสดุ์ มีอาณาเขตโดยรอบ ประมาณ 4000 ลี้ เขตนครหลวงโดยรอบ ประมาณ1000 ลี้ เป็นที่ร้าง ปรักหักพัง กำ แพงพระราชวัง โดยรอบราว 15 ลี้ เหลือแต่ฐาน ก่อด้วยอิฐแข็งแรงมาก. ภายในนั้น ยังมีฐานพระราชวัง ของพระเจ้าสุทโธทนะ (พระพุทธ บิดา) แต่ได้สร้าง ปราสาทขึ้นไว้ ณ ที่นั้น และได้ประดิษฐาน พระรูป ของพระมหากษัตริย์ พระองค์นั้น ด้านเหนือมีฐานเดิม ห้องบรรทม ของพระนางมหามายา (พระพุทธมารดา) และได้สร้างปราสาทขึ้น ทั้งมี พระรูป ของพระนาง ประดิษฐานไว้เช่นเดียวกัน ข้างปราสาทนี้ ยังมีปราสาทอีกแห่งหนึ่ง เป็นอนุสาวรีย์ พระ ศากยมุนีโพธิสัตว์ เมื่อเสด็จสู่ปฏิสนธิในมาตุคัพโภทร (ตามที่พระพุทธ มารดา ทรงสุบิน) และมีรูปแสดงไว้ด้วย (ภาพวาดที่ฝาผนัง) ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ มีสถูป อันเป็นที่ซึ่ง พระอสิตดาบส ทำ นายลักษณะ พระมหาบุรุษราชกุมาร เบื้องซ้ายขวาของเมือง เป็นที่ ซึ่งพระราชโอรส ประลองศิลปศาสตร์ ในท่ามกลาง วงศ์ศากยราช อีกแห่งหนึ่งเป็นที่ซึ่งทรงม้า ออกจากราชธานี (สู่มหาภิเนษกรมณ์) กับยังมีแห่งอื่นๆ อันเป็นที่ได้ทอดพระเนตร เห็นคนชรา คนป่วย คนถึง มรณกรรม กับพระสมณะ แล้วเสด็จกลับ ด้วยพระหฤทัย เหนื่อยหน่าย ในโลกิยวิสัย” ต่อจากนั้น พระถังซัมจั๋ง ได้เดินทางไปตามป่าทึบ ทาง ทิศตะวันออก ประมาณ ๕๐๐ ลี้ ถึงรามคาม อันเป็นถิ่น มีผู้คนอาศัย อยู่น้อย ด้านตะวันออก ของเมืองเก่า มีสถูปก่อด้วยอิฐสูง ๑๐๐ เฉี้ยะ เป็นที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ ที่ได้รับส่วนแบ่งมาจากโทณพราหมณ์

พุทธประวัติบางตอน :
ชมพูทวีป
ชมพูทวีป คือ ดินแดนที่เรียกในอดีต ปัจจุบันได้แก่ ประเทศ อินเดีย เนปาล อัฟกานิสถาน ปากีสถาน บังคลาเทศ และพม่าบางส่วน อยู่ทางทิศพายัพของไทย

ชนเผ่า
ชนชาติมี ๒ เผ่า คือ
๑. มิลักขะ
๒. อริยกะ
ชาวมิลักขะ ชนเผ่าได้ตั้งถิ่นฐานอยู่เดิมแล้ว ส่วนอริยกะ อพยพ ลงมาทางเหนือข้ามภูเขาหิมาลัย และอาศัยความเจริญทางวัฒนธรรมมี อำนาจเหนือกว่าขับไล่มิลักขะให้ถอยร่นออกไป

ชนบทประเทศ
ชนบทประเทศ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนคือ
๑. มัชฌิมชนบทหรือมัธยมประเทศ ได้แก่ ส่วนกลาง เป็นที่อยู่ อริยกะ
๒. ปัจจันตชนบทหรือปัจจันตประเทศ ได้แก่ รอบนอกขอบ ชายแดน เป็นที่อยู่ของมิลักขะ

แคว้น
ชมพูทวีปมี ๑๖ แคว้น ได้แก่ อังคะ มคธะ กาสี โกสละ วัชชี มัลละ เจตี วังสะ กุรุ ปัญจาละ มัจฉะ สุรเสนะ อัสสกะ อวันตี คันธาระ และกัมโพชะ แคว้นที่นอกเหนือข้างต้นมี ๕ แคว้น ได้แก่ สักกะ โกลิยะ ภัคคะ วิเทหะ อังคุตตราปะ

วรรณะ
วรรณะเป็นชนชั้นมี ๔ ประเภท คือ
๑. กษัตริย์ ศึกษายุทธวิธี มีหน้าที่ปกครอง
๒. พราหมณ์ ศึกษาพระเวท มีหน้าที่อบรมสั่งสอน พิธีกรรม
๓. แพศย์ ศึกษาการพานิชย์ มีหน้าที่การค้าขาย
๔. ศูทร ศึกษาการใช้แรงงาน มีหน้าที่เป็นกรรมกร
วรรณะสูงสมสู่กับวรรณะต่ำ ลูกที่เกิดมาเรียกว่า “จัณฑาล” เป็น ที่ เหยียดหยามของสังคม

ความคิดเห็น
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการตายการเกิดมี ๒ ประการ
๑. ถือว่าตายแล้วเกิด
๒. ถือว่าตายแล้วสูญ (มี ๒ อย่างคือ สูญทุกอย่าง และสูญบาง อย่าง)
เกี่ยวกับความสุขความทุกข์ มี ๒ ประการ
๑. ได้รับสุขทุกข์ ได้เอง ไม่มีเหตุปัจจัย
๒. ได้รับสุขทุกข์ มีเหตุปัจจัย (เห็นแตกออกไป ๒ อย่าง คือเหตุ ภาย นอกเช่น เทวดา เหตุภายในคือกรรม)

ศากยวงศ์
สักกชนบท อยู่ในดงไม้สักกะเป็นเขตป่าหิมพานต์ ตอนเหนือ ของชมพูทวีป มีกษัตริย์พระนามว่า พระเจ้าโอกการาช มีโอรส ๔ พระองค์ ธิดา ๕ พระองค์ พระมเหสีสิ้นพระชนม์ มีพระมเหสีองค์ใหม่ มี พระโอรส 1 พระองค์ เป็นที่โปรดปราน พระองค์พลั้งปากพูดว่า พระนาง ต้องการ สิ่งใด จะประทานพรให้ พระนางจึงทูลขอพระราชสมบัติให้กับ โอรสของ พระนางเอง บุตรธิดาทั้ง ๙ พระองค์ จึงได้ย้ายไปสร้างเมือง ใหม่ อันเป็น ที่อยู่ของกบิลดาบส สร้างขึ้นตามคำ แนะนำ ของท่านจึงได้ ชื่อว่า กบิลพัสดุ์
ต่อมาโอรสธิดาได้อภิเษกสมรสสมสู่กันระหว่างพี่น้อง ยกเว้น พี่สาว คนโต วงศ์นี้ได้นามว่า ศากยวงศ์ เพราะตั้งอยู่ในสักกชนบท พี่สมสู่กันเอง เรียกสกสังวาส และสักกา คือ ผู้อาจหาญ สามารถ มีกษัตริย์พระองค์หนึ่ง ซึ่งเคยเป็นโรคเรื้อนอาศัยกินอยู่ในป่าต้นไม้ กะเบาจนทำ ให้โรคหาย ต่อมาได้อภิเษกสมรสกับพระเชษฐภคินี (พี่ สาว คนโต) มีพระนครนามว่า กรุงเทวทหะ ตั้งวงศ์โกลิยะสืบต่อมา ศากยวงศ์สืบเชื้อสายเรื่อยมาจนถึงพระจ้าชยเสนะ พระเจ้าสีหหนุ พระเจ้าสุทโธทนะ และมีพระโอรสชื่อว่า เจ้าชายสิทธัตถะ

กบิลพัสดุ์สมัยปัจจุบัน
กรุงกบิลพัสดุ์ ในปัจจุบัน เป็นเพียงชนบทเล็กๆ อยู่ที่ Piparawa จังหวัดสิทถัตถะนคร (Sidharathnagar) ชายแดน เขตประเทศอินเดีย ต่อกับประเทศเนปาล พระราชวัง และบ้านเมือง เหลือให้เห็นแต่เพียง ซากอิฐซากหิน ซึ่งมีไม่มาก ส่วนใหญ่น่าจะจมอยู่ใต้พื้นดิน ที่ยังไม่มีการขุดค้นหากันแต่ อย่างใด ปัจจุบันอยู่ภายใต้การดูแลของกองโบราณคดีอินเดีย สภาพผอบหินสบู่ (Soap Stone) ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พร้อมอักษรพรหมีที่สลักเป็นหลักฐานว่า นี้คือพระบรมสารีริกธาตุ ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จากศากยวงศ์ ที่ถูกอัญเชิญเข้าเมืองไทย ประวัติการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุณเจดีย์ภูเขาทอง วัดสระเกศฯ
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๑ มิตเตอร์ วิลเลี่ยม แคลกตัน เปปเป ชาวอังกฤษได้ขุดค้นอัฐิธาตุในพระสถูป มีอักษรจารึกอย่างเก่าแก่ที่สุด ในอินเดียบอกว่าเป็นพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เวลานั้นมา เครสเคอสัน เป็นอุปราชครองอินเดียอยู่ แต่ก่อนเคยอยู่ที่กรุงเทพฯ มีความคุ้นเคยกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสงค์ จะแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ทางราชวังจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม เปรียญ) แต่ครั้งยังเป็นพระยาสุขุมนัย วินิต เป็นผู้แทนประเทศไทย ไปอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุนั้นและครั้ง นั้น พระบรมสารีริกธาตุที่เหลือ โปรดสร้างพระเจดีย์ทองสัมฤทธิ์เป็นที่ บรรจุ แล้วโปรดให้ประกอบพระราชพิธีบรรจุในพระเจดีย์บนยอดบรม บรรพต เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๔๒ การบรรจุพระบรม สารีริกธาตุคราวนี้ ทรงพระประชวรจึงเสด็จ พระราชดำ เนินไม่ได้ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมขุนนครราชสีมา เสด็จแทนพระองค์ กบิลพัสดุ์ใหม่แห่งนี้ ห่างจากลุมพินีวันทางทิศเหนือ ๒๒ กิโลเมตร สันนิษฐานว่า เจ้าศากยวงศ์ได้มาสร้างวังใหม่ หลังจากถูก พระเจ้าวิฑูทภะไล่ฆ่าจนตาย

พุทธประวัติบางตอน:
เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์
พระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา มีความประสงค์จะทรงได้เห็น พระพุทธเจ้าจึงส่งคณะไป หลายคณะที่ไปฟังธรรมบรรลุเป็นพระอรหันต์ ไม่ได้ทูลเชิญให้เสด็จกลับ จึงตรัสสั่งกาฬุทายีอำ มาตย์ และได้ทูลขอ อุปสมบท พอสิ้นฤดูหนาวทูลเชิญพระพุทธองค์พร้อมด้วยภิกษุสองหมื่น รูป เสด็จ กลับออกเดินจากราชคฤห์ถึงกบิลพัสดุ์ ๖๐ โยชน์ เดินวันละ ๑ โยชน์ เป็นเวลา ๒ เดือน พอถึงพระนครได้ประทับนิโครธาราม พวกศากยะบางท่านถือตัว ไม่ทำ ความเคารพ สำ แดงปาฏิหาริย์เหาะขึ้นลอยอยู่ในอากาศ ประหนึ่ง ให้ ละอองธุรีบาทหล่นตกลงเศียรของประยูรญาติ พอเห็นปาฏิหาริย์ได้ ประนมมือกราบไหว้ ฝนโบกขรพรรษได้ตกลง เป็นฝนที่มีเม็ดสีแดง เมื่อ ตกลงมา ผู้ใดปรารถนาให้เปียกก็เปียก ผู้ใดไม่ปรารถนาก็ไม่เปียก ได้ตรัส เรื่อง พระเวสสันดรชาดก
เช้ารุ่งขึ้นได้ออกบิณฑบาต พระเจ้าสุทโทธนะได้ออกมาห้ามไว้ พระพุทธองค์ได้ตรัสบอกว่า การออกบิณฑบาตเป็นกิจวัตรของสมณะ ได้แสดงธรรมโปรด พระราชบิดาได้บรรลุเป็นพระโสดาบัน


ประวัติพระอนุรุทธะ (ทิพยจุกขุ ตาทิพย์)
พระอนุรุทธะ เป็นพระโอรส อมิโตทนะ ซึ่งเป็นพระอนุชาพระ เจ้าสุทโธทนะ เกิดที่เมืองกบิลพัสดุ์ เป็นวรรณะกษัติย์

ไม่รู้จักคำว่า ไม่มี
เจ้าชายอนุรุทธะ ได้รับการดูแลเป็นอย่างดีจากพระยูรญาติ แม้คำ ว่า ไม่มี ก็ไม่เคยได้ยิน มีเรื่องเล่าว่า เจ้าชายอนุรุทธะไปเล่นกับ พระสหาย มีกติกาว่า ถ้าใครแพ้ให้นำ ขนมมาเลี้ยงเพื่อน เจ้าชายแพ้ ถึง ๓ ครั้ง แต่ละครั้งคนรับใช้ต้องนำ ขนมจากเสด็จแม่มาเลี้ยง พอ ครั้งที่ ๔ ปรากฏเล่นแพ้ พระมารดาบอกว่า “ขนมไม่มี” เจ้าชายเข้าใจ ว่าเป็นชื่อขนม
แม่จึงสั่งสอนลูกให้รู้ว่าคำ ว่า ไม่มีเป็นไร จึงถาดเปล่ามาแล้วปิด ฝาด้วยถาดอีกใบหนึ่ง คนรับใช้นำ ไปให้พระโอรส เทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่ ซุ้มประตูคิดว่า เจ้าชายอนุรุทธะนี้ ได้สร้างบุญบารมีมาแต่ชาติปางก่อน ถวายอาหารที่ตนกำ ลังบริโภคแก่พระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่าอริฏฐะ ตั้ง ปรารถนาว่า ขออย่าได้ยินคำ ว่า “ไม่มี” จึงเนรมิตขนมทิพย์จนเต็ม ถาด ตอนหลังจึงขอกินขนมไม่มีอีก เพราะมีรสชาติอร่อย พระมารดา จึงนำ ถาดเปล่าแล้วปิดฝา ปรากฏมีขนมเต็มถาด
มีพี่ชายชื่อเจ้ามหานามศากายะ และกนิษฐภคินีคือ โรหิณี เมื่อ พวกศากยกุมารจะพากันออกบวชตามพระพุทธเจ้า ทั้งสองพี่น้องจึง ปรึกษาที่จะให้คนพี่หรือน้องออกบวช เจ้าอนุรุทธะไม่ขอบวช เพราะ ตนเองเป็นสุขุมาลชาติ เจ้ามหานามะ จึงสอนเรื่องการครองเรือน การ ทำ นา การไถ การเก็บเกี่ยว การนวด เป็นต้น เจ้าอนุรุทธะเห็นเป็น ความยุ่งยาก จึงขอออกบวชเอง อ้อนวอนพระมารดาอยู่ ๗ วัน แม่ให้ ข้อแม้ว่า ถ้าพระสหายบวชจึงจะอนุญาต มีเจ้าศากยะ ๕ พระองค์รวม ถึงเจ้าอนุรุทธะ ภิททิยะ อานันทะ ภคุ กิมพิละ และเทวทัต (ฝ่ายโกลิยะ) โดยให้อุบาลีบวชก่อน เพื่อกำ จัดขัตติยมานะ

บรรลุพระอรหันต์
ในพรรษาที่บวชนั้นเองก็ได้ทิพจักขุญาณ ได้เรียนกรรมฐานจาก พระธรรมเสนาบดีสารีบุตร เข้าไปสู่ป่าปาจีนวังสมฤคทายวัน ได้ตรึก ถึงมหาปุริสวิตก ๗ ประการ พระศาสดาเสด็จไปยังที่อยู่ของพระเถระ แล้วทรงแนะให้ตรึกในข้อที่ ๘ พระองค์เสด็จกลับ บำ เพ็ญสมณธรรม ก็ได้บรรลุพระอรหัตผล

ปฐมเหตุประเพณีการทอดผ้าบังสุกุล – ผ้าป่า
ครั้งหนึ่งพระเถระได้แสวงหาผ้าบังสุกุล (ผ้าเปื้อนฝุ่น) ตามกอง ขยะกองหยากเยื่อเพื่อทำจีวร อดีตภรรยาเก่าชื่อ ชาลินี เป็นเทพธิดาชั้น ดาวดึงส์ ถ้านำ ถวายด้วยมือตนเองพระเถระไม่รับเป็นแน่ จึงหาอุบาย ซุกผ้าในกองขยะกองหยากเยื่อ พระเถระเห็นแล้วดึงออกมาพิจารณา นำ กลับไปสู่อารามเพื่อทำ จีวร พระศาสดาทรงพาพระมหาสาวกมาร่วมทำจีวมีพระมหากัสสปะ พระสารีบุตร พระอานนท์ ส่วนพระภิกษุที่เหลือช่วยกันกรอด้าย พระโมคคัลลานะกับนางเทพธิดาชาลินี ชวนญาติโยมนำ อาหารถวาย พระศาสดาและภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป การเย็บจีวรของพระอนุรุทธะ จึงสำ เร็จภายในวันเดียว พุทธบริษัทถือเป็นแบบอย่างในการทอดผ้า บังสุกุล จนถึงปัจจุบันนี้

เอตทัคคะ
ท่านจะพิจารณาตรวจดูสัตวโลกด้วยทิพยจักขุญาณเว้น ไว้ในเวลาฉันภัตตาหารเท่านั้น ท่านมีใจเอื้ออาทรใส่ใจทุกข์สุข ของผู้อื่น พระศาสดาจึงทรงยกย่องท่านว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้ได้ทิพยจักษุญาณพระเถระนิพพาน ณ ใต้กอไผ่ ใกล้หมู่บ้าน เวฬุวะ แคว้นวัชชี

อดีตชาติและความปรารถนา
ครั้งสมัยพระพุทธเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ กุลบุตรนี้กับมหาชน ไปยังวิหารเพื่อฟังธรรม เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภิกษุผู้มีทิพยจักษุ รูปหนึ่งไว้ในตำ แหน่งเอตทัคคะ แม้เราก็พึงเป็นยอดของภิกษุผู้มีจักษุ ทิพย์ ในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้จะมาอุบัติขึ้นในอนาคต และ ได้ทูลนิมนต์พระศาสดาและภิกษุแสนหนึ่ง เพื่อฉันภัตตาหารในวันรุ่งขึ้น ได้ทำ มหาทานถึง ๗ วัน ถวายผ้าอย่างดี แล้วตั้งความ ปรารถนาต่อพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงตรวจดูในอนาคต ทรงทราบ ว่าความปรารถนาของเขาสำ เร็จ จึงตรัสว่า ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ ในที่สุด แสนกัปในอนาคต พระพุทธโคดม จักอุบัติขึ้น ท่านจะมีชื่อว่า อนุรุทธะ เป็นยอดของภิกษุผู้มีทิพยจักษุ ท่านมุ่งทำ แต่กรรมดีตลอดไม่ขาดเลย

เหตุที่ได้ตาทิพย์
หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว สร้างเจดีย์ทองประมาณ ๗ โยชน์ สร้างต้นประทีปหลายพันต้น ในกาลแห่งพระกัสสปสัมมาพุทธเจ้า ได้บังเกิดในเรือนกุฎุมพี ใกล้กรุงพาราณสี เมื่อพระศาสดาปรินิพพาน เมื่อสร้างเจดีย์ประมาณ ๑ โยชน์สำ เร็จแล้ว ให้สร้างภาชนะสำ ริดเป็นอันมากบรรจุเนยใสจนเต็ม ให้ วางไส้ตะเกียงเว้นระยะองคุลี ๑ๆ ในท่ามกลาง ให้จุดไฟขึ้นล้อมพระเจดีย์

พบพระปัจเจกพุทธเจ้า ทำ บุญจนได้ตำ แหน่งเศรษฐี
ในกาลที่พระพุทธเจ้าไม่อุบัติขึ้น เขาได้เกิดเป็นคนเข็ญใจชื่อ อันนภาระ ทำ งานในบ้านเศรษฐี วันหนึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่า อุปริฏฐะ ออกจากสมาบัติ พิจารณาว่าจะทำ การอนุเคราะห์นายอัน นภาระ จึงนำ อาหารที่ตนเก็บไว้ทาน ใส่บาตรพระปัจเจกพระพุทธเจ้า ธรรมดาบิณฑบาตที่ถวายแด่พระปัจเจกพุทธเจ้า ที่ออกจากนิโรธสมาบัติ ย่อมให้ผลในวันนั้น เทวดาที่สิ่งอยู่ที่ฉัตรของสุมนเศรษฐีได้ให้สาธุการ เศรษฐีอยากมีส่วนบุญในบิณฑบาต ได้ให้ทรัพย์พันกหาปณะ เศรษฐี พาไปเฝ้าพระราชา พระราชารับสั่งให้สำ รวจดูที่เรือนของเขา ราชบุรุษ ไปขุด ขุมทรัพย์ได้ผุด จึงได้แต่งตั้งเป็นธนเศรษฐีในพระนครนี้

กรุงกบิลพัสดุ์
เมือง...นครกบิลพัสดุ์ เมือง....กษัตริย์ศากยะองค์ปฐม
เมือง...ตระกูลสมเด็จพระโคดม เมือง....บรมมหาสุดยอดคน
เมือง...ขุดพบบรมสารีริกธาตุ เมือง....ปราสาท ๓ ฤดูร้อน-หนาว-ฝน
เมือง...ฤาษีชำ นาญการเวทย์มนต์ เมือง....สืบค้นประวัติศาสตร์โบราณคดี
เมือง...แผ่นดินถิ่นพระอรหันต์ เมือง...ชนก-ชนนีพระศาสดา
ที่มา..คู่มือพระธรรมวิทยากร
บริษัทธรรมหรรษาทัวร์ แอนด์ แทรเวล จำกัด dhammahansatour 71/4 แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 (ตั้งใกล้กับสถานที่สำคัญ คือ ห้างเซ็นทรัลปิ่นเกล้า และ กระทรวงวัฒนธรรม) โทร 02-8845683-6, มือถือ/ไลน์ไอดี : 0819944790, 0614026277, 0994396677 แฟกซ์: 02-8845682 อีเมล: dhammahansa@yahoo.com เว็บไซต์ : www.dhammahansa.com
GR สอบถาม BTC บางกอกไทยเซ็นเตอร์ ไอ-อินเดียไทย วัดไทยโพธิวิหาร GR สอบถามไอ-อินเดีย กรมการท่องเที่ยว ดร.เบิร์ต ธรรมหรรษา ศูนย์อินเดีย-ไทย ธรรมหรรษาทีวี ธรรมหรรษาทัวร์ GR สอบถาม DHT
Dhammahansa Tours & Travel Co., Ltd.
71/4 Borommaratchachonnani Road,
Bangkoknoi, Bangkok, 10700 Thailand.
TEL:(+66) 02-8845683-6, FAX: 02-8845682
Mobile/Line ID : 0819944790, 0614026277, 0994396677
E-mail: dhammahansa@hotmail.com E-mail: dhammahansa@yahoo.com
www.youtube.com/dhammahansa, www.dhammahansa.com, www.dhttv.com
บริษัท ธรรมหรรษาทัวร์ แอนด์ แทรเวล จำกัด
71/4 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 (ข้างเซ็นทรัลปิ่นเกล้า)
โทร : 02-8845683-6, แฟกซ์ : 02-8845682
มือถือ/ไลน์ไอดี : 0819944790, 0614026277, 0994396677
อีเมล: dhammahansa@yahoo.com, เว็บไซต์ : www.dhammahansa.com, www.dhttv.com
Copyright © 2011 All Rights Reserved